อาหาร สำหรับทารกแรกเกิดที่มารดาไม่สามารถให้นมบุตรได้ไม่ว่าจะด้วยภาระหน้าที่รวมถึงลักษณะทางกายภาพของผู้เป็นมารดาไม่สามารถผลิตน้ำนมได้เป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นมากที่สุดเพราะมีผลต่อการพัฒนาของทารกในทุกๆ ด้านทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิต วันนี้มีคำแนะนำดีๆ มานำเสนอช่วยให้คุณแม่มือใหม่คุณแม่ที่ให้นมบุตรไม่ได้หมดกังวลต่อการพัฒนาของลูกน้อย ติดตามไปพร้อมๆ กันได้เลย

http://www.mamaexpert.com/posts/content-4996
อาหาร ที่ถูกออกแบบมาเพื่อทดแทนน้ำนมมารดา
การพัฒนาและผลิต อาหาร ที่ใช้แทนน้ำนมมารดาได้ในปัจจุบันแม้จะเป็นเป็นที่นิยมเพราะน้ำนมมารดามี สารอาหารที่ดีที่สุด และจำเป็นต่อทารกมากที่สุดอยู่แล้วแต่ในกรณีจำเป็น การที่มารดาให้นมบุตรไม่ได้ เช่น ไม่มีน้ำนม มารดาป่วยหรือเสียชีวิต การหาสิ่งทดแทนจึงมีความจำเป็นต่อทารกเป็นอย่างยิ่ง
รูปแบบของ อาหาร ที่ทดแทนนมแม่ในกรณีจำเป็น
โดยธรรมชาติของผู้เป็นมารดาแล้วเปอร์เซ็นต์การไม่มีน้ำนมเป็นไปได้น้อยมากแต่ปรากฏว่ามีเปอร์เซ็นต์สูงมากที่เลี้ยงทารกด้วย อาหาร น้ำนมมารดาไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ทางการแพทย์รวมถึงเจ้าของผลิตภัณฑ์นมผงสำหรับทารกจึงมีการพัฒนาและหาทางออกเพื่อให้ทารกสามารถมี สารอาหารที่ดีที่สุด ทดแทนนมมารดาได้ในกรณีจำเป็นเท่านั้น ทางออกที่ช่วยได้ในกรณีจำเป็นคือ
- ใช้นมผงสูตรสำหรับทารกแรกเกิดเท่านั้น
- ซื้อใช้ทีละน้อยๆ ไม่ควรกักตุนไว้นานๆ เพราะจะชื้นและเสื่อมคุณภาพไม่เป็น สารอาหารที่ดีที่สุด
- ใช้ขวดนมและจุกนมที่มีมาตรฐานเหมาะกับลักษณ์การบริโภคของทารก
- ปั๊มน้ำนมเก็บไว้ล่วงหน้าในปริมาณที่เหมาะสมจากทั้งสองเต้า 8-12 ออนซ์คือปริมาณที่เหมาะสม
ปกติแล้วสูตรนมผงสำหรับทารกแรกเกิดจะผลิตภัณฑ์จาก “นมวัว” พร้อมกับการเติมสารอาหารที่จำเป็นให้มีความใกล้เคียงกับนมมารดามากที่สุดเพื่อให้ทารกได้ สารอาหารที่ดีที่สุด เทียบเท่านมมารดาแต่อย่างไรก็ตามมีทารกบางคนที่เกิดอาการแพ้นมวัวได้ ปัจจุบันจึงมีการพัฒนานำเอาข้าวโพดมาสกัดเป็น อาหาร ประเภทนมผงให้สามารถใช้กับเด็กแรกเกิดได้อีกทางหนึ่งด้วย ในกรณีที่มีปัญหาเช่นนี้การรับคำแนะนำจากแพทย์โดยตรงจะดีและได้นมผงที่เหมาะสมที่สุด

https://www.enfababy.com/Child-development/Breastfeeding/Problems/Balance-breast-size
สาเหตุที่ทำให้มารดาไม่สามารถให้นมบุตรเป็น อาหาร ได้
ข้อผิดพลาดง่ายๆ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวส่งผลให้คุณแม่มือใหม่ไม่สามารถให้น้ำนมเป็น อาหาร ลูกน้อยได้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกคนเริ่มต้นจากการนำทารกเข้าเต้าเพื่อดูดนมช้าเกินไปปกติจะ 5 วันหลังคลอดบุตรเป็นส่วนใหญ่ส่งผลให้การไหลเวียนและน้ำนมเข้าเต้าผิดปกติ ความผิดพลาดประการต่อมาคือการให้นมไม่สม่ำเสมอรวมถึงการใช้นมผงสลับกับนมมารดาทำให้หัวนมเกิดปัญหาการใช้งาน
นอกจากนี้ความเครียดของมารดา อาการซึมเศร้าหลังคลอดบุตรและการนำทารกเข้าเต้าผิดวิธีไม่รอให้ลูกดูดหัวนมเองแต่กลับจับหัวนมดันใส่ปากลูกส่งผลให้เกิดภาวะ “หัวนมแตก” ซึ่งทำให้การไหลของน้ำนมเวลาทารกดูดกิน อาหาร เป็นไปได้ยากไหลช้าสร้างความเจ็บปวดให้มารดามากเป็นพิเศษ การรอเวลาที่เหมาะสมและให้ทารกเลือกเข้าเต้าเพื่อดูดเองจะดีที่สุด
จากที่กล่าวมาทั้งหมดนี้แม้ว่า อาหาร ที่ธรรมชาติกำหนดให้ร่างกายมารดาสร้างให้กับทารกได้เองจะเกิดขึ้นกับทุกคนที่มีบุตรแต่วิธีการให้นมมารดาอย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลจริงเป็นความละเอียดอ่อนที่ต้องเรียนรู้อย่างระมัดระวังและค่อยเป็นค่อยไปมากที่สุดในเวลาเดียวกัน

https://www.enfababy.com/Child-development/Breastfeeding/Techniques/Menu-to-increase-milk-supply